สำนักวิชาการบัญชีและการเงิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  ดำเนินโครงการบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยมุ่งเน้นในด้านการให้ความรู้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนในพื้นที่ รวมทั้งเพื่อให้การบริการคำปรึกษา ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรม  ตลอดทั้งส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการรวมตัวผู้ประกอบการ ชุมชน และประชาชนในพื้นที่ โดยใช้องค์ความรู้จากทั้ง 3 หลักสูตร ในสำนักวิชาการบัญชีและการเงิน ได้แก่ หลักสูตรบัญชี หลักสูตรการเงิน และหลักสูตรเศรษฐศาสตร์  

          สำนักวิชาการบัญชีและการเงิน มุ่งเน้นการบูรณาการองค์ความรู้เพื่อสังคม ส่งเสริมการเป็นหลักในถิ่น โดยเฉพาะชุมชนรายรอบมหาวิทยาลัย การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและยกระดับศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ซึ่งเป็นฐานทรัพยากรที่สำคัญ ในการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจสร้างรายได้ให้กับชุมชน สร้างเครือข่ายทางสังคม และเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ที่มีเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยว และเป็นทรัพยากรที่จะสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน

การยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชในพื้นที่อำเภอท่าศาลา อำเภอสิชล และอำเภอขนอม จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะสร้างให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความพร้อมและศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางมาท่องเที่ยว รวมทั้งการพัฒนาผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวในท้องถิ่น รวมทั้งการสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือ การใช้องค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม การเปิดเวทีเพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการโดยตรงจากผู้ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อให้สำนักวิชาการเงินและบัญชี ได้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนและการทำงานร่วมกันภายใต้ภารกิจบริการวิชาการและวิจัยในอนาคต โดยโครงการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์ ได้แก่ (1) เพื่อระดมความคิดเห็นในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช และ (2) เพื่อส่งเสริมและการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการดังกล่าว ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 3 กิจกรรม ได้แก่

กิจกรรมที่ 1 การระดมความเห็นเพื่อยกระดับและพัฒนามาตรฐานการท่องเที่ยวเมืองชายฝั่งนครศรีธรรมราช

กิจกรรม 2 การพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล

กิจกรรม 3 การสร้างเครือข่ายการพัฒนาการท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่งในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

หลังจากการดำเนินโครงการ พบว่าโครงการได้ดำเนินโครงการได้บรรลุวัตถุประสงค์ พบว่า มีจำนวนผู้เข้ารับบริการในพื้นที่ อำเภอขนอม อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าถึงการให้บริการ มากกว่า 100 ราย สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา และร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความความพึงพอใจ เนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการได้รับองค์ความรู้เพิ่มขึ้น และสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง ส่งผลลัพธ์ให้เกิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และสร้างความเข้มแข็งให้ธุรกิจการท่องเที่ยวทางทะเลสามารถดำเนินกิจการได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสร้างผลลัพธ์ให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวและผู้มาเยือนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการกระจายรายได้ เสริมสร้างภาคี ความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน

ทั้งนี้โครงการดังกล่าวมีความสอดคล้องกับ Sustainable Development Goals : SDGs ดังต่อไปนี้

GOAL 1. No Poverty

GOAL 3. Good Health and Well-being

GOAL 4. Quality Education

GOAL 8. Decent Work and Economic Growth

GOAL 12. Responsible Consumption and Production

GOAL 14. Life Below Water

GOAL 17. Partnerships to achieve the Goal

สำนักวิชาการบัญชีและการเงิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  ดำเนินโครงการบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยมุ่งเน้นในด้านการให้ความรู้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนในพื้นที่ รวมทั้งเพื่อให้การบริการคำปรึกษา ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรม  ตลอดทั้งส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการรวมตัวผู้ประกอบการ ชุมชน และประชาชนในพื้นที่ โดยใช้องค์ความรู้จากทั้ง 3 หลักสูตร ในสำนักวิชาการบัญชีและการเงิน ได้แก่ หลักสูตรบัญชี หลักสูตรการเงิน และหลักสูตรเศรษฐศาสตร์              สำนักวิชาการบัญชีและการเงิน มุ่งเน้นการบูรณาการองค์ความรู้เพื่อสังคม ส่งเสริมการเป็นหลักในถิ่น โดยเฉพาะชุมชนรายรอบมหาวิทยาลัย การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและยกระดับศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ซึ่งเป็นฐานทรัพยากรที่สำคัญ ในการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจสร้างรายได้ให้กับชุมชน สร้างเครือข่ายทางสังคม และเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ที่มีเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยว และเป็นทรัพยากรที่จะสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน  การยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชในพื้นที่อำเภอท่าศาลา อำเภอสิชล และอำเภอขนอม จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะสร้างให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความพร้อมและศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางมาท่องเที่ยว รวมทั้งการพัฒนาผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวในท้องถิ่น รวมทั้งการสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือ การใช้องค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม การเปิดเวทีเพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการโดยตรงจากผู้ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อให้สำนักวิชาการเงินและบัญชี ได้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนและการทำงานร่วมกันภายใต้ภารกิจบริการวิชาการและวิจัยในอนาคต โดยโครงการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์ ได้แก่ (1) เพื่อระดมความคิดเห็นในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช และ (2) เพื่อส่งเสริมและการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการดังกล่าว ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 3 กิจกรรม ได้แก่  กิจกรรมที่ 1 การระดมความเห็นเพื่อยกระดับและพัฒนามาตรฐานการท่องเที่ยวเมืองชายฝั่งนครศรีธรรมราช  กิจกรรม 2 การพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล  กิจกรรม 3 การสร้างเครือข่ายการพัฒนาการท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่งในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช  หลังจากการดำเนินโครงการ พบว่าโครงการได้ดำเนินโครงการได้บรรลุวัตถุประสงค์ พบว่า มีจำนวนผู้เข้ารับบริการในพื้นที่ อำเภอขนอม อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าถึงการให้บริการ มากกว่า 100 ราย สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา และร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความความพึงพอใจ เนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการได้รับองค์ความรู้เพิ่มขึ้น และสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง ส่งผลลัพธ์ให้เกิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และสร้างความเข้มแข็งให้ธุรกิจการท่องเที่ยวทางทะเลสามารถดำเนินกิจการได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสร้างผลลัพธ์ให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวและผู้มาเยือนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการกระจายรายได้ เสริมสร้างภาคี ความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน  ทั้งนี้โครงการดังกล่าวมีความสอดคล้องกับ Sustainable Development Goals : SDGs ดังต่อไปนี้  GOAL 1. No Poverty  GOAL 3. Good Health and Well-being  GOAL 4. Quality Education  GOAL 8. Decent Work and Economic Growth  GOAL 12. Responsible Consumption and Production  GOAL 14. Life Below Water  GOAL 17. Partnerships to achieve the Goal

สำนักวิชาการบัญชีและการเงิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  ดำเนินโครงการบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยมุ่งเน้นในด้านการให้ความรู้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนในพื้นที่ รวมทั้งเพื่อให้การบริการคำปรึกษา ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรม  ตลอดทั้งส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการรวมตัวผู้ประกอบการ ชุมชน และประชาชนในพื้นที่ โดยใช้องค์ความรู้จากทั้ง 3 หลักสูตร ในสำนักวิชาการบัญชีและการเงิน ได้แก่ หลักสูตรบัญชี หลักสูตรการเงิน และหลักสูตรเศรษฐศาสตร์              สำนักวิชาการบัญชีและการเงิน มุ่งเน้นการบูรณาการองค์ความรู้เพื่อสังคม ส่งเสริมการเป็นหลักในถิ่น โดยเฉพาะชุมชนรายรอบมหาวิทยาลัย การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและยกระดับศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ซึ่งเป็นฐานทรัพยากรที่สำคัญ ในการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจสร้างรายได้ให้กับชุมชน สร้างเครือข่ายทางสังคม และเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ที่มีเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยว และเป็นทรัพยากรที่จะสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน  การยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชในพื้นที่อำเภอท่าศาลา อำเภอสิชล และอำเภอขนอม จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะสร้างให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความพร้อมและศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางมาท่องเที่ยว รวมทั้งการพัฒนาผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวในท้องถิ่น รวมทั้งการสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือ การใช้องค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม การเปิดเวทีเพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการโดยตรงจากผู้ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อให้สำนักวิชาการเงินและบัญชี ได้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนและการทำงานร่วมกันภายใต้ภารกิจบริการวิชาการและวิจัยในอนาคต โดยโครงการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์ ได้แก่ (1) เพื่อระดมความคิดเห็นในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช และ (2) เพื่อส่งเสริมและการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการดังกล่าว ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 3 กิจกรรม ได้แก่  กิจกรรมที่ 1 การระดมความเห็นเพื่อยกระดับและพัฒนามาตรฐานการท่องเที่ยวเมืองชายฝั่งนครศรีธรรมราช  กิจกรรม 2 การพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล  กิจกรรม 3 การสร้างเครือข่ายการพัฒนาการท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่งในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช  หลังจากการดำเนินโครงการ พบว่าโครงการได้ดำเนินโครงการได้บรรลุวัตถุประสงค์ พบว่า มีจำนวนผู้เข้ารับบริการในพื้นที่ อำเภอขนอม อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าถึงการให้บริการ มากกว่า 100 ราย สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา และร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความความพึงพอใจ เนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการได้รับองค์ความรู้เพิ่มขึ้น และสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง ส่งผลลัพธ์ให้เกิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และสร้างความเข้มแข็งให้ธุรกิจการท่องเที่ยวทางทะเลสามารถดำเนินกิจการได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสร้างผลลัพธ์ให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวและผู้มาเยือนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการกระจายรายได้ เสริมสร้างภาคี ความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน  ทั้งนี้โครงการดังกล่าวมีความสอดคล้องกับ Sustainable Development Goals : SDGs ดังต่อไปนี้  GOAL 1. No Poverty  GOAL 3. Good Health and Well-being  GOAL 4. Quality Education  GOAL 8. Decent Work and Economic Growth  GOAL 12. Responsible Consumption and Production  GOAL 14. Life Below Water  GOAL 17. Partnerships to achieve the Goal

สำนักวิชาการบัญชีและการเงิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  ดำเนินโครงการบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยมุ่งเน้นในด้านการให้ความรู้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนในพื้นที่ รวมทั้งเพื่อให้การบริการคำปรึกษา ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรม  ตลอดทั้งส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการรวมตัวผู้ประกอบการ ชุมชน และประชาชนในพื้นที่ โดยใช้องค์ความรู้จากทั้ง 3 หลักสูตร ในสำนักวิชาการบัญชีและการเงิน ได้แก่ หลักสูตรบัญชี หลักสูตรการเงิน และหลักสูตรเศรษฐศาสตร์              สำนักวิชาการบัญชีและการเงิน มุ่งเน้นการบูรณาการองค์ความรู้เพื่อสังคม ส่งเสริมการเป็นหลักในถิ่น โดยเฉพาะชุมชนรายรอบมหาวิทยาลัย การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและยกระดับศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ซึ่งเป็นฐานทรัพยากรที่สำคัญ ในการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจสร้างรายได้ให้กับชุมชน สร้างเครือข่ายทางสังคม และเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ที่มีเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยว และเป็นทรัพยากรที่จะสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน  การยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชในพื้นที่อำเภอท่าศาลา อำเภอสิชล และอำเภอขนอม จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะสร้างให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความพร้อมและศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางมาท่องเที่ยว รวมทั้งการพัฒนาผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวในท้องถิ่น รวมทั้งการสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือ การใช้องค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม การเปิดเวทีเพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการโดยตรงจากผู้ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อให้สำนักวิชาการเงินและบัญชี ได้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนและการทำงานร่วมกันภายใต้ภารกิจบริการวิชาการและวิจัยในอนาคต โดยโครงการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์ ได้แก่ (1) เพื่อระดมความคิดเห็นในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช และ (2) เพื่อส่งเสริมและการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการดังกล่าว ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 3 กิจกรรม ได้แก่  กิจกรรมที่ 1 การระดมความเห็นเพื่อยกระดับและพัฒนามาตรฐานการท่องเที่ยวเมืองชายฝั่งนครศรีธรรมราช  กิจกรรม 2 การพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล  กิจกรรม 3 การสร้างเครือข่ายการพัฒนาการท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่งในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช  หลังจากการดำเนินโครงการ พบว่าโครงการได้ดำเนินโครงการได้บรรลุวัตถุประสงค์ พบว่า มีจำนวนผู้เข้ารับบริการในพื้นที่ อำเภอขนอม อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าถึงการให้บริการ มากกว่า 100 ราย สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา และร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความความพึงพอใจ เนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการได้รับองค์ความรู้เพิ่มขึ้น และสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง ส่งผลลัพธ์ให้เกิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และสร้างความเข้มแข็งให้ธุรกิจการท่องเที่ยวทางทะเลสามารถดำเนินกิจการได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสร้างผลลัพธ์ให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวและผู้มาเยือนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการกระจายรายได้ เสริมสร้างภาคี ความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน  ทั้งนี้โครงการดังกล่าวมีความสอดคล้องกับ Sustainable Development Goals : SDGs ดังต่อไปนี้  GOAL 1. No Poverty  GOAL 3. Good Health and Well-being  GOAL 4. Quality Education  GOAL 8. Decent Work and Economic Growth  GOAL 12. Responsible Consumption and Production  GOAL 14. Life Below Water  GOAL 17. Partnerships to achieve the Goal

สำนักวิชาการบัญชีและการเงิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  ดำเนินโครงการบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยมุ่งเน้นในด้านการให้ความรู้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนในพื้นที่ รวมทั้งเพื่อให้การบริการคำปรึกษา ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรม  ตลอดทั้งส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการรวมตัวผู้ประกอบการ ชุมชน และประชาชนในพื้นที่ โดยใช้องค์ความรู้จากทั้ง 3 หลักสูตร ในสำนักวิชาการบัญชีและการเงิน ได้แก่ หลักสูตรบัญชี หลักสูตรการเงิน และหลักสูตรเศรษฐศาสตร์              สำนักวิชาการบัญชีและการเงิน มุ่งเน้นการบูรณาการองค์ความรู้เพื่อสังคม ส่งเสริมการเป็นหลักในถิ่น โดยเฉพาะชุมชนรายรอบมหาวิทยาลัย การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและยกระดับศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ซึ่งเป็นฐานทรัพยากรที่สำคัญ ในการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจสร้างรายได้ให้กับชุมชน สร้างเครือข่ายทางสังคม และเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ที่มีเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยว และเป็นทรัพยากรที่จะสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน  การยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชในพื้นที่อำเภอท่าศาลา อำเภอสิชล และอำเภอขนอม จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะสร้างให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความพร้อมและศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางมาท่องเที่ยว รวมทั้งการพัฒนาผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวในท้องถิ่น รวมทั้งการสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือ การใช้องค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม การเปิดเวทีเพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการโดยตรงจากผู้ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อให้สำนักวิชาการเงินและบัญชี ได้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนและการทำงานร่วมกันภายใต้ภารกิจบริการวิชาการและวิจัยในอนาคต โดยโครงการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์ ได้แก่ (1) เพื่อระดมความคิดเห็นในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช และ (2) เพื่อส่งเสริมและการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการดังกล่าว ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 3 กิจกรรม ได้แก่  กิจกรรมที่ 1 การระดมความเห็นเพื่อยกระดับและพัฒนามาตรฐานการท่องเที่ยวเมืองชายฝั่งนครศรีธรรมราช  กิจกรรม 2 การพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล  กิจกรรม 3 การสร้างเครือข่ายการพัฒนาการท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่งในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช  หลังจากการดำเนินโครงการ พบว่าโครงการได้ดำเนินโครงการได้บรรลุวัตถุประสงค์ พบว่า มีจำนวนผู้เข้ารับบริการในพื้นที่ อำเภอขนอม อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าถึงการให้บริการ มากกว่า 100 ราย สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา และร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความความพึงพอใจ เนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการได้รับองค์ความรู้เพิ่มขึ้น และสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง ส่งผลลัพธ์ให้เกิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และสร้างความเข้มแข็งให้ธุรกิจการท่องเที่ยวทางทะเลสามารถดำเนินกิจการได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสร้างผลลัพธ์ให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวและผู้มาเยือนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการกระจายรายได้ เสริมสร้างภาคี ความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน  ทั้งนี้โครงการดังกล่าวมีความสอดคล้องกับ Sustainable Development Goals : SDGs ดังต่อไปนี้  GOAL 1. No Poverty  GOAL 3. Good Health and Well-being  GOAL 4. Quality Education  GOAL 8. Decent Work and Economic Growth  GOAL 12. Responsible Consumption and Production  GOAL 14. Life Below Water  GOAL 17. Partnerships to achieve the Goal

Facebook Comments